การเปลี่ยนคำศัพท์เอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์

มาดูการเปลี่ยนคำศัพท์จากเอกพจน์(Singular) ให้เป็นพหูพจน์(Plural) แบบง่ายๆได้ใจความกันดีกว่า การเปลี่ยนคำศัพท์จากเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์มีหลักการดังนี้ เติม s ในคำศัพท์ เช่น scoop + s = scoops เติม es หลังคำศัพท์ที่ออกเสียง /iz/ ซึ่งมักจะเป็นคำศัพท์ที่ลงท้ายด้วยตัวอักษร s, x, sh, ch เช่น dish + es = dishes dress + […]

Read Article →

รู้จัก Subject Verb Agreement แบบง่ายๆ

Subject Verb Agreement  เป็นส่วนหนึ่งของไวยากรณ์ภาษาอังกฤษที่สำคัญมาก โดยเฉพาะการพูดและเขียนภาษาอังกฤษ ครั้งนี้มารู้จัก Subject Verb Agreement   แบบง่ายๆ กัน โดยถ้าจะแปล Subject Verb Agreement  ก็ได้ว่า เป็นข้อตกลงการใช้คำกริยากับประธานฉะนั้น จึงกล่าวได้ว่าเป็นกฎหรือข้อกำหนดในภาษาอังกฤษก็ว่าได้ว่าประธานแบบไหนถึงจะใช้กริยาแบบไหน ซึ่งมีข้อกำหนดที่ควรรู้ดังนี้ Subjects: ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ให้ใช้กริยาพหูพจน์ เช่น The car looks จะเห็นว่าประธานเป็นเอกพจน์ ก็คือ มีรถเพียงคันเดียว เดียวคือ Car […]

Read Article →

คำศัพท์ที่มีรูปแบบเป็นพหูพจน์แปลกๆ

ในภาษาอังกฤษคำศัพท์บางคำก็มีรูปแบบหน้าตาที่แตกต่างกันระหว่างคำศัพท์ที่เป็นเอกพจน์และพหูพจน์ ดังนั้นวันนี้มีมาลองสังเกตคำที่เป็นพหูพจน์แบบแปลกๆ เพื่อเพิ่มคลังคำศัพท์ในสมองกัน เอกพจน์ (Singular) พหูพจน์ (Plural) ความหมาย ตัวอย่างประโยค Antenna Antennae เสาอากาศ We had adjusted the antennae. Millennium Millennia สหัสวรรษ , รอบพันปี Many millennia have passed since the Earth was […]

Read Article →

คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับคำนามเอกพจน์และพหูพจน์

ในภาษาอังกฤษนั้นมีคำนามหลายคำที่มีลักษณะพิเศษ ไม่ว่าจะเป็นคำนามที่เป็นได้ทั้งพหูพจน์และเอกพจน์ในรูปเดียว หรือบางคำก็ดูเหมือนเป็นเอกพจน์แต่กลับเป็นพหูพจน์ก็มี เป็นต้น ดังนั้นวันนี้เรามาดู กลุ่มคำนามที่น่าสนใจ และควรจดจำไว้ใช้กับประโยคภาษาอังกฤษกัน กลุ่มคำนามที่เป็นได้ทั้งเอกพจน์และพหูพจน์ในรูปเดียวกัน Fish แปลว่า ปลา Deer แปลว่า กวาง Salmon แปลว่า ปลาแซวมอน Sheep แปลว่า แกะ Trout แปลว่า ปลาเทราต์ กลุ่มคำนามที่เป็นรูปเหมือนเป็นเอกพจน์แต่เป็นพหูพจน์ Police แปลว่า ตำรวจ People แปลว่า กลุ่มคน […]

Read Article →

สูตรจำ Subject Verb Agreement (SVB) แบบง่ายๆ

Subject Verb Agreement (SVB) เป็นเรื่องของความสอดคล้องของประธานและกริยา ดังนั้นบางครั้งจึงมีความหลากหลายในการใช้งาน อาจจะทำให้สับสนได้ ครั้งนี้จึงนำสูตรการจำมาฝากแบบง่ายของ SVB จะได้นำไปปรับใช้ได้ง่ายขึ้นและเข้าใจมากขึ้นมาดูกันเลย 1. การใช้ Here , There เราจะรู้ได้อย่างไรว่าต้องใช้กริยาตัวไหน ให้ไปดูที่คำนามที่ตามหลัง ดังสูตรนี้ Here, There + V. อะไรขึ้นกับ N. ที่ตามหลัง ตัวอย่าง There were thousands of […]

Read Article →

เทคนิคการใช้ No กับ None ที่จำแม่นขึ้น!

No และ None นั้นจะมีความหมายในเชิงปฏิเสธที่เหมือนกันแต่แตกต่างกันตรงที่วิธีการใช้ ดังนี้ No + Noun = not any / a + noun ใช้เป็นประธาน ยกตัวอย่างเช่น We had to walk home last night because there was no bus. None […]

Read Article →